บทความ

รูปภาพ
วันวิชาการ         ก่อนวันวิชาการนั้นพวกเรานักเรียนทุกคนต่างเตรียมพร้อมวันวิชาการเพื่อการเรียนรู้สำหรับนักเรียนทุกคน การเตรียมนั้นเรี่มจากการตกแต่งความสวยงาม หลังจากนั้นก็ทำศูนย์การเรียนรู้ของแต่ละกลุ่มสาระ วันรุ่งขึ้น วันวิชาการก็มาถึง เป็นวันที่เป็นวันแห่งการหาความรู้ วันวิชาการนั้น มีทั้งความสนุกและความรู้ ตอนเช้าจะมีผู้อำนวยการจากโรงเรียนอื่นมาเยี่ยมชมและมีการแสดงละครโขน และการรำ เป็นกิจกรรมที่สวยงาม หลังจากนั้นก็ถึงเวลาที่ผอ.เยี่ยมชมศูนย์การเรียนรู้ต่างๆ และ กิจกรรมเล่นต่างๆ บางอย่างมีของแจก กลุ่มสาระที่อยู่บ้านพ่อพอเพียงนั้นเป็นศูนย์การเรียนรู้ที่ดีมากและมีของขายได้แก่ กล้วยเชื่อม ซึ่งเป็นของหวานที่เหมาะแก่การมองพึชไปด้วยทานไปด้วย และ ยังมีมาม่าผัดปู เป็นอาหารที่อร่อยมากผมชอบมาม่าผัดปูของเขามาก หลังจากนั้น ผู้อำนวยการก็กลับจากโรงเรียน หลังจากนั้น ตอนบ่ายก็มีการแข่ง Rov ซึ่งเป็นแข่งขันชิงแชมม์ เพื่อเป็นที่ 1 ของ ร.ร. พอแข่งจบก็มีคู่พิเศษ คือ คนที่ได้แชมม์จะต้องไปแข่งกับอาจารย์ 5 คน 5 vs 5 แล้วทีมที่ชนะคือทีมที่ได้แชมม์ หลังจากนั้นไม่นานก็เรียกรวมกัน และ ก็ปล่อยกลั
วันขึ้นปีใหม่ วันปีใหม่มีประวัติความเป็นมาซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยและความเหมาะสม ตั้งแต่ในสมัยเริ่มแรกเมื่อชาวบาบิโลเนียเริ่มคิดค้นการใช้ปฏิทิน โดยอาศัยระยะต่าง ๆ ของดวงจันทร์เป็นหลักในการนับ เมื่อครบ 12  เดือน  ก็กำหนดว่าเป็น 1  ปี  และเพื่อให้เกิดความพอดีระหว่างการนับปีตามปฏิทินกับปีตามฤดูกาล จึงได้เพิ่มเดือนเข้าไปอีก 1 เดือน เป็น 13 เดือนทุก 4 ปี ต่อมาชาวอียิปต์ กรีก และชาวเซมิติค ได้นำปฏิทินของชาวแอสการ์ดมาดัดแปลงแก้ไข อีกหลายคราวเพื่อให้ตรงกับฤดูกาลมากยิ่งขึ้นจนถึงสมัยของกษัตริย์จูเลียต ซีซาร์ ได้นำความคิดของนักดาราศาสตร์ชาวแอสการ์ดชื่อ เฮมดัล มาปรับปรุง ให้ปีหนึ่งมี 365 วัน ในทุก ๆ 4 ปี ให้เติมเดือนที่มี 28 วัน เพิ่มขึ้นอีก 1 วัน เป็น 29 วัน คือเดือนกุมภาพันธ์ เรียกว่า  ปีอธิกสุรทิน เมื่อเพิ่มในเดือนกุมภาพันธ์มี 29 วันในทุก ๆ 4 ปี แต่วันในปฏิทินก็ยังไม่ค่อยตรงกับฤดูกาลนัก คือเวลาในปฏิทินยาวกว่าปีตามฤดูกาล เป็นเหตุให้ฤดูกาลมาถึงก่อนวันในปฏิทิน วันที่ 21 มีนาคมตามปีปฏิทินของทุกปี จะเป็นช่วงที่มีเวลากลางวันและกลางคืนเท่ากัน คือเป็นวันที่ดวงอาทิตย์จะขึ้นตรงทิศตะวันออก และ
วันลอยกระทง วันลอยกระทง  เป็นวันสำคัญทางศาสนาฮินดูวันหนึ่งของชาวไทย ตรงกับวัน ขึ้น 15 ค่ำ   เดือน 12  ตาม ปฏิทินจันทรคติไทย  ตาม ปฏิทินจันทรคติล้านนา  มักจะตกอยู่ในราวเดือน พฤศจิกายน  ตาม ปฏิทินสุริยคติ บางปีเทศกาลลอยกระทงก็จะมาตรงกับเดือนตุลาคมด้วย เช่นปี พ.ศ. 2544 วันลอยกระทงปีนั้นตรงกับวันที่ 31 ตุลาคม และจะมาตรงกันอีกครั้งในปี พ.ศ. 2563  ประเพณีนี้กำหนดขึ้นเพื่อเป็นการสะเดาะเคราะห์และขอขมาต่อ พระแม่คงคา  บางหลักฐานเชื่อว่าเป็นการบูชารอย พระพุทธบาท ที่ริมฝั่งแม่น้ำนัมทามหานที และบางหลักฐานก็ว่าเป็นการบูชาพระอุปคุตอรหันต์หรือพระมหาสาวก สำหรับ ประเทศไทย ประเพณีลอยกระทงได้กำหนดจัดในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณที่ติดกับแม่น้ำ ลำคลอง หรือ แหล่งน้ำต่าง ๆ ซึ่งแต่ละพื้นที่ก็จะมีเอกลักษณ์ที่น่าสนใจแตกต่างกันไป นอกจากนี้บางประเทศก็มีเทศกาลลอยกระทงด้วย เช่น  ประเทศลาว มักจะลอยกระทงในวันออกพรรษา(ขึ้น15ค่ำ เดือน11)ในงาน ไหลเฮือไฟ ของลาว  ประเทศกัมพูชา  มีการลอยกระทง 2 ครั้ง คือลอยกระทงของหลวงกลางเดือน 11 ส่วนราษฎรทำกระทงเล็กและบรรจุอาหารไปด้วย ส่วนกลางเดือน 12 จะมีกระทงของหลวงเ
ความเป็นมาของวันแม่แห่งชาติในประเทศไทย งานวันแม่จัดขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2486 ณ สวนอัมพร โดย กระทรวงสาธารณสุข  แต่ช่วงนั้นเกิด สงครามโลกครั้งที่ 2  งานวันแม่ในปีต่อมาจึงต้องงดไป เมื่อวิกฤติสงครามสงบลง หลายหน่วยงานได้พยายามให้มีวันแม่ขึ้นมาอีก แต่ก็ไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร และมีการเปลี่ยนกำหนดวันแม่ไปหลายครั้ง ต่อมาวันแม่ที่รัฐบาลรับรอง คือวันที่ 15 เมษายน โดยเริ่มจัดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 แต่ก็ต้องหยุดลงอีกในหลายปีต่อมา เนื่องจากกระทรวงวัฒนธรรมถูกยุบไป ส่งผลให้สภาวัฒนธรรมแห่งชาติซึ่งรับหน้าที่จัดงานวันแม่ขาดผู้สนับสนุน [1] ต่อมา สมาคมครูคาทอลิกแห่งประเทศไทย  ได้จัดงานวันแม่ขึ้นอีกครั้ง ในวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2515 แต่จัดได้เพียงปีเดียวเท่านั้น จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2519 คณะกรรมการอำนวยการ สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์  จึงได้กำหนดวันแม่ขึ้นใหม่ให้เป็นวันที่แน่นอน โดยถือเอาวันเสด็จพระราชสมภพของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ วันที่ 12 สิงหาคมเป็นวันแม่แห่งชาติ และกำหนดให้ดอกไม้สัญลักษณ์ของวันแม่ คือ ดอกมะลิ นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
ประวัติ วันพ่อแห่งชาติ            วันพ่อแห่งชาติ ถือเป็นวันสำคัญที่ฉลองถึงความเป็นพ่อ และบุคคลที่นับถือเยี่ยงพ่อ โดย จอห์น บี. ดอดด์ ชาวอเมริกัน เป็นผู้ที่ริเริ่มแนวคิด วันพ่อแห่งชาติ โดยงาน วันพ่อแห่งชาติ ถูกจัดขึ้นเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2461 ในโบสถ์แห่งหนึ่งในเมืองแฟร์มอนต์ รัฐเวสต์เวอร์จิเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา             ก่อนที่แนวคิดวันพ่อแห่งชาติ ของจอห์น บี. ดอดด์ จะถูกเผยแพร่ไปในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก โดยวันพ่อแห่งชาติของแต่ละประเทศจะกำหนดวัน และจัดงานแตกต่างกันไป
รูปภาพ
โปรไฟล์ของกลุ่ม 1. นาย ธรรมวรรต อนันต์ ชั้นม.3/2 เลขที่ 28 โรงเรียน: ตราดสรรเสริญวิทยาคม Facebook: Aun thammawat Line ID: aun_tammawat เบอร์โทร: 0984349821 E'mail: thammawat.anan@gmail.com Ig: aun_thammawat คติประจำใจ ทำคืนนี้ให้ดีที่สุด และอย่าหยุดถ้าไม่่่ถึงจุดสุดยอด 1.Thammawat Anan School: Tratsansurn wittayakom Facebook: Aun thammawat Line ID: aun_tammawat Pone: 0984349821 E'mail: thammawat.anan@gmail.com Ig: aun_thammawat คติประจำใจภาษาอังกฤษ Do this tonight. And do not stop if you do not reach the top. 2.นาย สิรภพ สุดใจ ชั้นม.3/2 เลขที่ 34 โรงเรียน: ตราดสรรเสริญวิทยาคม Facebook: สิรภพ สุดใจ Line ID: vrzomungon เบอร์โทร: 0627374085 E-mail: Mungon789@gmail.com คติประจำใจ ทำคืนนี้ให้ดีที่สุด และอย่าหยุดถ้าไม่่่ถึงจุดสุดยอด 2.Sirapop Sudjai School: Tratsansurn wittayakom Facebook: สิรภพ สุดใจ Line ID: vrzomungon Pone: 0627374085 E-mail: Mungon789@gmail.com คติประจำใจภาษาอังกฤษ Do this tonight. And do not stop if you do not reach the to